สนับสนุนบทความคุณภาพโดย lucabetasia
เว็ป คาสิโนออนไลน์ ที่ดีที่สุด
ฝอยทอง
ฝอยทองในประเทศไทย ประเภท ขนมหวาน แหล่งกำเนิด โปรตุเกส ส่วนผสมหลัก ไข่ ส่วนใหญ่ใช้ ไข่แดง น้ำเชื่อม ตำราอาหารฝอยทอง วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ ฝอยทอง ฝอยทอง โปรตุเกส "เส้นด้ายที่ทำจากไข่ เป็นขนมโปรตุเกส ลักษณะเป็นเส้นฝอยสีทอง ทำจากไข่แดงของไข่เป็ด เคี่ยวในน้ำเดือดและน้ำตาลทราย
ชาวโปรตุเกสใช้รับประทานกับขนมปัง กับอาหารมื้อหลักจำพวกเนื้อสัตว์ และใช้รับประทานกับขนมเค้ก โดยมีกำเนิดจากเมืองอาไวรู เมืองชายฝั่งทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศโปรตุเกส ฝอยทองเป็นที่รู้จักในประเทศสเปนว่า อูเอโบอิลาโด ไข่ที่ปั่นเป็นเส้นด้าย ในประเทศญี่ปุ่นว่า เครังโซเม็ง
ในประเทศกัมพูชาว่า วาวี ในประเทศมาเลเซียว่า จาลามัซ และในมาลาบาร์เหนือ รัฐเกรละ ประเทศอินเดียว่า มุตตามาลา"ฝอยไข่"เนื้อหา 1 ประวัติ 1.1 ประเทศไทย 1.2 ประเทศญี่ปุ่น 2 ดูเพิ่ม 3 อ้างอิง 4 แหล่งข้อมูลอื่น ประวัติ ฝอยทองในเมืองฟุกุโอะกะ ประเทศญี่ปุ่น ฝอยทอง ที่ซื้อจากร้านขายขนมในประเทศบราซิล
ประเทศไทย ฝอยทองแพร่เข้ามาในประเทศไทย พร้อมกับทองหยิบและทองหยอด ในสมัยกรุงศรีอยุธยา ในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช โดยมารีอา กียูมาร์ ดึ ปีญา ท้าวทองกีบม้า, พ.ศ. 2202-2265 ลูกครึ่งโปรตุเกส-ญี่ปุ่น ภรรยาของเจ้าพระยาวิชาเยนทร์ คอนสแตนติน ฟอลคอนท้าวทองกีบม้ามีหน้าที่เป็นหัวหน้าห้องเครื่องต้น
เป็นผู้ทำอาหารเลี้ยงต้อนรับคณะราชทูตจากฝรั่งเศสที่มาเยือนกรุงศรีอยุธยาในสมัยนั้น ทั้งนี้ฝอยทอง ปรากฏอยู่ใน กาพย์เห่ชมเครื่องคาว-หวาน บทพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ที่พระราชนิพนธ์ชมเชยฝีพระหัตถ์ในการแต่งเครื่องเสวยของสมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี
ความว่าฝอยทอง เป็นยองใย เหมือนเส้นไหมไข่ของหวาน คิดความยามเยาวมาลย์ เย็บชุนใช้ไหมทองจีนฯ ประเทศญี่ปุ่น เครังโซเม็งเข้ามาในประเทศญี่ปุ่นในยุคอาซูจิ–โมโมยามะ ช่วงปี ค.ศ. 1568 – ค.ศ. 1600 พ.ศ. 2111-2143ที่จังหวัดนางาซากิ โดยพ่อค้าชาวโปรตุเกส
หลังจากนั้นจึงแพร่หลายไปยังจังหวัดฟูกูโอกะ และเริ่มทำเพื่อจำหน่ายตามร้านขนมต่าง ๆ ในยุคเมจิ เมื่อ 342 ปีก่อน ร้านมัตสึยาริเอมงที่จังหวัดฟูกูโอกะได้ทำเครังโซเม็งขึ้นซึ่งเป็นขนมหวานที่เป็นเอกลักษณ์ประจำของร้าน โดยปัจจุบันนั้นได้ดำเนินงานโดยรุ่นที่ 13
สนับสนุนบทความคุณภาพโดย lucabetasia
เว็ป คาสิโนออนไลน์ ที่ดีที่สุด